FASCINATION ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

สำรวจข้อจำกัดและสัมผัสการทำงานในพื้นที่จริง

ยกตัวอย่างกรณีเด็กที่มีผู้ปกครองประกอบอาชีพก่อสร้าง พบว่าเด็กกลุ่มนี้จะมีการเคลื่อนย้ายตามผู้ปกครอง ไม่ใช่การเคลื่อนย้ายตามภาคการศึกษา แต่เป็นการเคลื่อนย้ายตามฤดูกาลทำงาน ส่งผลให้เด็กต้องออกจากโรงเรียน หรือย้ายโรงเรียน ถึงแม้ว่าโรงเรียนปลายทางยินดีที่จะรับเด็กเข้าศึกษาตามสิทธิการศึกษาของเด็ก แต่ก็จะพบว่าความต่อเนื่องของการเรียน ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อตัวเด็ก ทำให้เด็กขาดโอกาสในส่วนนี้

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

มาตรการการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากรัฐบาล เป็นการออกนโยบายเพื่อเข้ามาช่วยเหลือดูแลให้เด็ก และเยาวชนมีโอกาสได้รับสิทธิ และเสรีภาพที่จะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น มีนโยบายการกำหนดให้เด็ก และเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการสนับสนุนค่าเล่าเรียนให้แก่นักเรียน เป็นต้น อีกทั้งปัจจุบันภาครัฐยังมีการสนับสนุน และดูแลให้โรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้อย่างเท่าเทียมกับโรงเรียนในพื้นที่เขตเมือง โดยมีการช่วยเหลือในการจัดหาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และการติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้ขอบข่ายการเรียนรู้ขยายกว้าง และมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น 

เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

แต่ถ้าถามว่า ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่องว่างของการเรียนรู้เกิดจากแค่ลักษณะของครัวเรือน (ยากจน/ร่ำรวย) หรือไม่? คำตอบคือไม่ เพราะยังมีปัจจัยอื่น เช่น คุณภาพของโรงเรียน ซึ่งเป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพทางการศึกษาอย่างสำคัญ โดยรายงานระบุว่า หากนักเรียนยากจนได้รับการศึกษาจากโรงเรียนที่มีคุณภาพ ผลการเรียนของนักเรียนจะอยู่ในระดับมาตรฐานที่ไม่ต่างจากนักเรียนร่ำรวยเท่าไรนัก

ช่องว่างของรายได้และทรัพย์สินดังกล่าวส่งผลกระทบทอดยาวไปสู่ความเหลื่อมล้ำด้านอื่นๆ ในสังคม หนึ่งในนั้นคือความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา รายงานเรื่องความไม่เสมอภาคทางการศึกษาของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เผยสถานการณ์ปัจจุบันว่า

เพราะฉะนั้น ความเหลื่อมล้ำในแต่ละบริบทนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจากมิติใดมิติหนึ่งเพียงอย่างเดียว ความเหลื่อมล้ำนั้นสามารถเกิดได้จากทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ หรือความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากมิติวัฒนธรรม หรืออคติเชิงชาติพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย

ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษาครูของโครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่นไปเรียนรู้เพื่อกลับมาพัฒนาห้องเรียนอย่างที่ตั้งใจ

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)

Report this page